ข่าวดาราศาสตร์ นาซ่า [1]

<<<ยานอวกาศของนาซ่า(ชื่อว่า Odyssey),ที่ใช้ในการสำรวจดาวอังคาร ได้ขาดการติดต่อจากโลกในขณะที่มันกำลังสังเกตุดาวหางชื่อ 'C/2013 A1' หรืออีกชื่อ 'Siding Spring' 






กล้องโทรทรรศน์อวกาศของดาวเทียมFermi ตรวจจับพายุรุนแรงที่มีพลังงานสูงได้ จาก'ดาวเคราะห์แม่เหล็ก'>>>




<<<นาซ่าเผยพายุสุริยะที่ปะทุขึ้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2014 ที่ผ่านมา โดยมีชื่อว่า AR 2192 Crackles ซึ่งได้รับการบันทึกโดย Solar Dynamics Observatory


ไม่ว่าอะไรก็ตามที่พุ่งชนดวงจันทร์ดวงนี้(Mimas) จนเกือบทำลายมันได้ เป็นหนึ่งในการพุ่งชนที่ใหญ่ที่สุด จนทำให้เกิดหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ที่เล็กที่สุดของดาวเสาร์>>>


<<< เมื่อวานนี้ (19/10/2557) ดาวหางได้ผ่านเข้าใกล้ดาวอังคารมากที่สุด จริงๆแล้วดาวหาง C/2013 A1(Siding Spring) ได้ผ่านเข้าใกล่ดาวอังคารมากที่สุด มากกว่าดาวหางอื่นๆที่เคยเข้าใกล้โลก เหตุการณ์นี้เป็นการศึกษาสำคัญซึ่งเกี่ยวกับ'ผลกระทบของดาวหางที่ผ่านเข้าใกล้ดาวเคราะห์'



เมฆหมอกคอสมิครูปร่างสวยงามอยู่ในใจกลางกลุ่มก๊าซเนบิวลา IC 1805 เมฆหมอกนี้ถูกทำให้เป็นรูปทรงต่างๆโดยลมที่เกิดจากความร้อนของดาวในกระจุกดาวเนบิวลาที่เพิ่งเกิดใหม่... กระจุกดาวนี้ชื่อ Melotte 15 มีอายุราวๆ 1.5 ล้านปีเท่านั้น >>>





<<< ภาพยานอวกาศ Rosetta ถ่ายภาพนี้เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2014 ในขณะที่ยานอวกาศได้เดินทางออกไปไกล 472,000,000 กิโลเมตร จากโลก แต่ห่างจากดาวหาง '67P/Churyumov-Gerasimenko' เพียง 16 กิโลเมตรเท่านั้น


เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2014 ยานอวกาศ Rosetta ถ่ายภาพมุมแคบที่น่าตื่นตาของใจกลางดาวหางที่ชื่อ 67P/Churyumov-Gerasimenko (รูปที่ 1) หลังจากการเดินทางมา 10 ปี ด้วยระยะทาง 6,500,000,000 กิโลเมตร ในเส้นทางการเดินทางนี้ ใช้แรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ช่วยในการเหวี่ยง จนกระทั้งยานอวกาศเข้าใกล้ดาวหาง>>>


<<< เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ทะเลสาปที่เต็มไปด้วยของเหลวมีเทนและอีเทน (ทะเลสาปนี้มีชื่อเรียกว่า Ligeia Mare) ขณะที่ถ่ายภาพในปี 2013 แล้วเอาไปเปรียบเทียบกับภาพที่ถ่ายในปี 2007...



เนบิวล่าHelix เป็นเนบิวล่าที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด ห่างจากโลกเราเพียง 700 ปีแสง ไปทางกลุ่มดาวราศรกุมภ์ และมีความกว้างประมาณ 3 ปีแสง>>>

<<<ในขณะที่ดวงจันทร์กำลังขึ้นและดวงอาทิตย์กำลังตก ในวันที่ 8 ตุลาคม 2014 เกิดจันทรุปราคาที่สามารถมองเห็นได้จากเขต'ฉงชิ่ง' (Chongging) ที่ประเทศจีน





บางช่วงบางเวลา ดวงอาทิตย์เกิดการปั่นป่วนและเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง จนทำให้เกิดเปลวสุริยะพุ่งไปในอวกาศ อาจไปไกลถึง 500,000 กิโลเมตร>>>